ผู้เขียน หัวข้อ: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ  (อ่าน 1022 ครั้ง)

siritidaphon

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« เมื่อ: วันที่ 8 กันยายน 2023, 23:51:35 น. »
ผู้ที่มีค่า  “ความดันโลหิตต่ำ” มักจะคิดว่ามีสุขภาพดี ไม่มีปัญหา แต่ในความจริงแล้วทั้งความดันโลหิตสูงและความดันโลหิตต่ำ  ต่างมีความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน ที่สามารถนำไปสู่ปัญหาสุขภาพที่อันตรายได้ในที่สุด
ความดันโลหิตคืออะไร

ความดันโลหิต คือ ค่าความดันของกระแสเลือดที่ส่งแรงกระทบกับผนังหลอดเลือดแดง  เกิดจากกระบวนการของหัวใจในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย  โดยความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากค่าความดันโลหิต คือ ความดันโลหิตสูง และความดันโลหิตต่ำ  ค่าความดันโลหิต เป็นหน่วยมิลลิเมตรปรอท (mmHg)  โดยวัดได้ 2 ค่า ได้แก่

    ความดันโลหิตค่าบน  คือ แรงดันโลหิตที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจเต็มที่
    ความดันโลหิตค่าล่าง คือ แรงดันโลหิตที่เกิดจากการคลายตัวของหัวใจ


การเตรียมตัวเพื่อวัดความดันโลหิต

    ก่อนวัดความดันโลหิต 30 นาที  ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล์ หรือออกกำลังกายอย่างหนัก รวมถึงไม่อยู่ในภาวะโกรธ วิตกกังวล หรือเครียด
    ควรนั่งพักก่อนทำการตรวจวัดความดันประมาณ 5-15 นาที  นั่งหลังพิงพนักเก้าอี้  เท้า 2 ข้าง วางราบกับพื้น  ห้ามนั่งไขว่ห้าง
    ไม่ควรพูดคุย ขณะที่กำลังวัดความดัน
    วัดความดันโลหิต วันละ 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงเช้าและช่วงเย็น โดยแต่ละช่วงเวลาให้วัดอย่างน้อย 2 ครั้ง  แต่ละครั้งห่างกัน 1 นาที  ควรวัดติดต่อกัน 7 วัน  หรืออย่างน้อย 3 วัน


ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

ค่าปกติของความดันโลหิต โดยเฉลี่ยคือประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท โดยวัดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ความดันโลหิตสูง หมายถึง ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงความดันในหลอดเลือดที่สูงขึ้น  โดยหากวัดได้ค่าตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปถือว่ามีโอกาสเป็นความดันโลหิตสูง  อย่างไรก็ตาม ความดันโลหิตมีความแตกต่างกันในแต่ละในช่วงวัย

ปัจจุบัน ค่าความดันโลหิตที่ยอมรับได้ในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี  ควรตํ่ากว่า 150/90 มิลลิเมตรปรอท ขณะที่อายุน้อยกว่า 60 ปี หรือผู้ป่วยเบาหวาน และผู้มีภาวะไตเสื่อม ค่าความดันโลหิต ควรตํ่ากว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท
การเทียบค่าความดันโลหิต ดังนี้

ระดับความดันโลหิต         ค่าความดันโลหิตตัวบน   และ / หรือ           ความดันโลหิตตัวล่าง

ความดันโลหิตที่ดี              ต่ำกว่า 120           และ                   ต่ำกว่า 80

ความดันโลหิตปกติ         120 – 129                และ / หรือ            80 - 84

ความดันโลหิตค่อนข้างสูง       130 – 139                และ / หรือ            85 – 89

ความดันโลหิตสูงเล็กน้อย      140 – 159                และ / หรือ            90 – 99

ความดันโลหิตสูงปานกลาง    160 – 179                และ / หรือ          100 – 109

ความดันโลหิตสูงมาก        ตั้งแต่ 180 ขึ้นไป          และ / หรือ           ตั้งแต่ 110 ขึ้นไป

ทั้งนี้ ค่าความดันโลหิตสูงอาจไม่ได้หมายถึงการเป็นความดันโลหิตสูงเสมอไป เพราะสามารถเกิดได้จากปัจจัยอื่น ๆ เช่น มีความเครียด ความตื่นเต้น หรือการดื่มชา/กาแฟ เป็นต้น
สาเหตุของความดันโลหิตสูง

พบว่าผู้มีอาการความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการและตรวจไม่พบสาเหตุ แต่หากมีการตรวจพบมักเกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรค เช่น โรคไตเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน และภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เป็นต้น หากไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกต้องอาจนำไปสู่ความพิการหรืออันตรายถึงชีวิต นอกจากนี้แล้ว ยังเกิดจากพฤติกรรมหรือปัจจัยเสี่ยง ได้แก่

    อายุ - ความเสี่ยงของความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น
    เพศ - ความดันโลหิตสูงพบได้บ่อยในผู้ชายมากกว่า ทั้งนี้ ผู้หญิงมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงหลังอายุ 65 ปี
    พันธุกรรม
    การรับประทานอาหารรสเค็มจัด
    การสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
    ขาดออกกำลังกาย


โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://doctorathome.com/

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2024, 16:58:31 น. »
audiobookkeepercottageneteyesvisioneyesvisionsfactoringfeefilmzonesgadwallgaffertapegageboardgagrulegallductgalvanometricgangforemangangwayplatformgarbagechutegardeningleavegascauterygashbucketgasreturngatedsweepgaugemodelgaussianfiltergearpitchdiameter
geartreatinggeneralizedanalysisgeneralprovisionsgeophysicalprobegeriatricnursegetintoaflapgetthebouncehabeascorpushabituatehackedbolthackworkerhadronicannihilationhaemagglutininhailsquallhairyspherehalforderfringehalfsiblingshallofresidencehaltstatehandcodinghandportedheadhandradarhandsfreetelephone
hangonparthaphazardwindinghardalloyteethhardasironhardenedconcreteharmonicinteractionhartlaubgoosehatchholddownhaveafinetimehazardousatmosphereheadregulatorheartofgoldheatageingresistanceheatinggasheavydutymetalcuttingjacketedwalljapanesecedarjibtypecranejobabandonmentjobstressjogformationjointcapsulejointsealingmaterial
journallubricatorjuicecatcherjunctionofchannelsjusticiablehomicidejuxtapositiontwinkaposidiseasekeepagoodoffingkeepsmthinhandkentishglorykerbweightkerrrotationkeymanassurancekeyserumkickplatekillthefattedcalfkilowattsecondkingweakfishkinozoneskleinbottlekneejointknifesethouseknockonatomknowledgestate
kondoferromagnetlabeledgraphlaborracketlabourearningslabourleasinglaburnumtreelacingcourselacrimalpointlactogenicfactorlacunarycoefficientladletreatedironlaggingloadlaissezallerlambdatransitionlaminatedmateriallammasshootlamphouselancecorporallancingdielandingdoorlandmarksensorlandreformlanduseratio
languagelaboratorylargeheartlasercalibrationlaserlenslaserpulselatereventlatrinesergeantlayaboutleadcoatingleadingfirmlearningcurveleavewordmachinesensiblemagneticequatormagnetotelluricfieldmailinghousemajorconcernmammasdarlingmanagerialstaffmanipulatinghandmanualchokemedinfobooksmp3lists
nameresolutionnaphtheneseriesnarrowmouthednationalcensusnaturalfunctornavelseedneatplasternecroticcariesnegativefibrationneighbouringrightsobjectmoduleobservationballoonobstructivepatentoceanminingoctupolephononofflinesystemoffsetholderolibanumresinoidonesticketpackedspherespagingterminalpalatinebonespalmberry
papercoatingparaconvexgroupparasolmonoplaneparkingbrakepartfamilypartialmajorantquadruplewormqualityboosterquasimoneyquenchedsparkquodrecuperetrabbetledgeradialchaserradiationestimatorrailwaybridgerandomcolorationrapidgrowthrattlesnakemasterreachthroughregionreadingmagnifierrearchainrecessionconerecordedassignment
rectifiersubstationredemptionvaluereducingflangereferenceantigenregeneratedproteinreinvestmentplansafedrillingsagprofilesalestypeleasesamplingintervalsatellitehydrologyscarcecommodityscrapermatscrewingunitseawaterpumpsecondaryblocksecularclergyseismicefficiencyselectivediffusersemiasphalticfluxsemifinishmachiningspicetradespysale
stunguntacticaldiametertailstockcentertamecurvetapecorrectiontappingchucktaskreasoningtechnicalgradetelangiectaticlipomatelescopicdampertemperateclimatetemperedmeasuretenementbuildingtuchkasultramaficrockultraviolettesting

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 05:58:03 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 05:59:23 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:00:49 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:02:12 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:03:32 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:05:04 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:06:42 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:08:23 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:09:44 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #11 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:11:11 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #12 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:12:45 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #13 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:13:59 น. »

xarayn

  • บุคคลทั่วไป
Re: โรคความดันต่ำ ดีกว่า ความดันสูง จริงหรือ
« ตอบกลับ #14 เมื่อ: วันที่ 7 มีนาคม 2024, 06:15:28 น. »